Full Width Blog

Jan
26

SDGs ในทศวรรษแห่งการดำเนินการอย่างจริงจัง (Decade of Action)

เหลือเวลาอีกเพียง 10 ปี ที่ประชาคมโลกจะต้องร่วมกันขับเคลื่อนการพัฒนาเพื่ออนาคตที่ดีกว่า การจะบรรลุ SDGs ทั้งในระดับโลก ระดับประเทศ และระดับท้องถิ่น ภายในระยะเวลาที่กำหนด ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม และภาคส่วนอื่นๆ ในการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง หน่วยงานที่จัดทำ : สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ ศูนย์วิจัยและสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน รับชมวิดิโอได้ที่นี่ :   Related posts: เป้าหมายที่ 13 การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (SDG 13: Climate action) Stronger Collaboration for an Equitable and Resilient Recovery Towards the Health-related Sustainable Development Goals: 2021 Progress Report on the Global Action Plan for Healthy […]

DETAIL
Jan
21

Advancing SDG 5 in Asia and the Pacific: An analysis of Beijing+25 National Review Reports

รายงาน “Advancing SDG 5 in Asia and the Pacific: An analysis of Beijing+25 national review reports” ประกอบด้วยบทสรุปความท้าทาย ความสำเร็จ และคีย์สำคัญในการดำเนินงาน เพื่อพัฒนาเสริมสร้างความเท่าเทียมทางเพศและสริมอำนาจของเพศหญิง นอกจากนี้ยังมีการกล่าวถึงประเด็นสำคัญที่แต่ละประเทศควรดำเนินการในอีก 5 ปีข้างหน้า โดยมีเป้าหมายที่จะเร่งให้เบรรลุความเท่าเทียมทางเพศในระดับภูมิภาค   หน่วยงานที่จัดทำ: คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (Economic And Social Commission For Asia And The Pacific: ESCAP) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2564 (2021 Thailand’s Voluntary National Review on The Implementation of […]

Jan 21 2021
รายงาน
DETAIL
Jan
19

รวมข้อเสนอแนะที่กลไกสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติออกให้แก่ประเทศไทยว่าด้วยประเด็นที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ประชาธิปไตย พ.ศ. 2557-2563

หนังสือ “รวมข้อเสนอแนะที่กลไกสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติออกให้แก่ประเทศไทยว่าด้วยประเด็นที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ประชาธิปไตย พ.ศ. 2557-2563” (Compilation of Recommendations Issued to Thailand by the UN Human Rights mechanisms on Issues Related to Democratic Space 2014-2020) รวบรวมข้อเสนอแนะที่เผยแพร่สู่สาธารณชนจากกลไกแห่งสหประชาชาติในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ประชาธิปไตย (democratic space) ไม่ว่าจะเป็น เสรีภาพในการแสดงออก เสรีภาพในการสมาคมและการชุมนุม การคุ้มครองนักปกป้องสิทธิมนุษยชน และสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร   หน่วยงานที่จัดทำ:สำนักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (OHCHR) ประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: รายงาน SDGs มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2563-2564 เอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ปี พ.ศ. 2563 รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2563 […]

Jan 19 2021
คู่มือ
DETAIL
Jan
01

SWU Sustainable Development Goals Report 2021

รายงานการดำเนินการด้านความยั่งยืนของมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประจำปี พ.ศ.​ 2564   หน่วยงานที่จัดทำ:มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: SWU Sustainable Development Goals Report 2018 SWU Sustainable Development Goals Report 2019 SWU Sustainable Development Goals Report 2020 Stronger Collaboration for an Equitable and Resilient Recovery Towards the Health-related Sustainable Development Goals: 2021 Progress Report on the Global Action Plan for Healthy Lives and Well-being […]

Jan 01 2021
รายงาน
DETAIL
Jan
01

ชุดเอกสาร Inner Development Goals

ชุดเอกสาร “Inner Development Goals” หรือ “เป้าหมายการพัฒนาภายใน” นำเสนอกรอบทักษะสำคัญสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยจัดทำเป็นคู่มือซึ่งจะเผยแพร่แบบโอเพนซอร์สให้ทุกคนสามารถนำไปใช้ได้ฟรี กรอบการทำงานของ Inner Development Goals นั้นประกอบด้วย 5 มิติและ 23 ทักษะ คุณลักษณะ ซึ่งมีความสำคัญอย่างยิ่งสำหรับผู้นำในการขับเคลื่อนป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และทุกคน กรอบการทำงานนี้เปรียบเสมือนตัวเร่งที่ทรงพลังในการบรรลุ SDGs เและสร้างอนาคตที่ดีให้กับมวลมนุษยชาติ   หน่วยงานที่จัดทำ: Inner Development Goals Initiative ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: UNESCO Strategy on Health and Well-Being: Contributing to the Sustainable Development Goals Achieving the Sustainable Development Goals through Tourism – Toolkit of Indicators […]

Jan 01 2021
คู่มือ
DETAIL
Jan
01

การประเมินผลการพัฒนาอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดยใช้ตัวชี้วัดความเป็นสากลของอินเทอร์เน็ต ROAM-X ของยูเนสโก

รายงาน “Assessing internet development in Thailand: using UNESCO’s Internet Universality ROAM-X Indicators” หรือ “การประเมินผลการพัฒนาอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดยใช้ตัวชี้วัดความเป็นสากลของอินเทอร์เน็ต ROAM-X ของยูเนสโก” เสนอผลประเมินความเป็นสากลของอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดยใช้ตัวชี้วัด ROAM-X ของยูเนสโก ผ่านการศึกษาบทสัมภาษณ์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญ การทบทวนงานเขียน และข้อคิดเห็นจากรัฐบาล ภาคประชาสังคม และตัวแทนภาคธุรกิจ   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization: UNESCO) ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ และภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: Sustainable Development Report 2021 Joint external evaluation of IHR core capacities of Libya […]

Jan 01 2021
รายงาน
DETAIL
Jan
01

Building Agricultural Resilience to Natural Hazard-induced Disasters

Insights from country case studies รายงานโดยองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD) ร่วมกับองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) แนะนำแนวทางการจัดการผลกระทบจากภัยพิบัติทางธรรมชาติที่มีต่อภาคเกษตรกรรม รวมถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เข้ามาเป็นตัวเร่งให้ผลกระทบเหล่านี้รุนแรงขึ้นจนไม่สามารถดำเนินการอย่างที่เคยทำมาได้ รายงานฉบับนี้เป็นการรวบรวม 7 กรณีศึกษาจากประเทศชิลี อิตาลี ญี่ปุ่น นามิเบีย นิวซีแลนด์ ตุรกี และสหรัฐอเมริกา ที่รัฐบาลรวมถึงเกษตรกรสามารถนำไปใช้ประยุกต์ใช้ในการจัดการความเสี่ยง ป้องกัน ลดผลกระทบ และฟื้นฟูให้ภาคเกษตรกรรมมีภูมิต้านทานต่อภัยพิบัติ หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD) และองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: The Impact of Disasters and Crises on Agriculture and Food Security: 2021 Agricultural Trade & Policy Responses During the First Wave of […]

Jan 01 2021
รายงาน
DETAIL
Jan
01

Climate Resilient Practices – Typology and Guiding Material for Climate Risk Screening

การมีภูมิต้านทานตั้งรับกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (climate resilience) เป็นแนวคิดพื้นฐานของการบริหารจัดการความเสี่ยงที่เกี่ยวกับสภาพภูมิอากาศ รายงานฉบับนี้หยิบยกตัวอย่างแนวปฏิบัติที่ดีของภาคเกษตร ที่หมายรวมถึงพืชผล การปศุสัตว์ การป่าไม้ และการประมง ว่าจะสามารถเสริมขีดความสามารถและเตรียมพร้อมระบบเกษตรกรรมให้สามารถปรับตัวและฟื้นกลับจากการเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร ผู้อ่านสามารถนำรายงานฉบับนี้ไปใช้เป็นข้อมูลประกอบ หรือเป็นแนวทางในการระบุชี้/ตรวจสอบความเสี่ยงด้านสภาพภูมิอากาศตั้งแต่ตอนต้นของการออกแบบและการผลักดันโครงการที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: วิกฤติสภาพภูมิอากาศ คือวิกฤติสิทธิเด็ก: ดัชนีความเสี่ยงต่อสภาพภูมิอากาศของเด็ก (The Climate Crisis is a Child Rights Crisis: Children’s Climate Risk Index) SDG Good Practices: A Compilation of Success Stories and Lessons Learned in SDG Implementation – Second Edition 2030 Recommendations of the […]

Jan 01 2021
รายงาน
DETAIL

Resources

  • Book
  • Report
  • Guide book
  • Article
  • Journal
  • Media

Actors

  • ภาควิชาการ
  • ภาคประชาสังคม
  • ภาคเอกชน
  • ภาครัฐ
  • องค์กรระหว่างประเทศ
TOP