Sorting:
Sort Ascending
  • Sustainable Development Report 2021

    รายงาน “Sustainable Development Report 2021” นำเสนอดัชนี SDG (SDG Index) และ dashboards สำหรับประเทศที่เป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติ (United Nations: UN) จัดทำโดย SDSN และมูลนิธิ Bertelsmann โดยฉบับนี้ว่าด้วยเรื่องทศวรรษแห่งการลงมือทำเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนและอธิบายว่าจะนำ SDGs มาช่วยฟื้นฟูจากผลกระทบของโควิด-19 อย่างไร   หน่วยงานที่จัดทำ: Sustainable Development Solutions Network และ Bertelsmann Stiftung ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Stronger Collaboration for an Equitable and Resilient Recovery Towards the Health-related Sustainable Development Goals: 2021 Progress Report on the Global Action […]

  • Sustainable Development Goals Report 2021

    รายงานเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs Report) ประจำปี 2021 นำเสนอผลกระทบจากกว่าหนึ่งปีของการระบาดใหญ่ที่สำคัญในหลายประเด็นการพัฒนา ทั้งอัตราความยากจนขั้นรุนแรงทั่วโลกที่เพิ่มขึ้นเป็นครั้งแรกในรอบกว่า 20 ปี วิกฤตครั้งนี้คุกคามความก้าวหน้าของการพัฒนาที่ดำเนินการมาหลายทศวรรษ สร้างความถดถอยต่อการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน และยิ่งแสดงถึงการเพิ่มความจำเป็นต่อการเปลี่ยนผ่านไปสู่เศรษฐกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้นอย่างเร่งด่วนขึ้นและครอบคลุมมากขึ้น   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การสหประชาชาติ (United Nations) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Stronger Collaboration for an Equitable and Resilient Recovery Towards the Health-related Sustainable Development Goals: 2021 Progress Report on the Global Action Plan for Healthy Lives and Well-being for All World Health Statistics 2021: Monitoring Health for the […]

  • แนวทางการจัดทำแผนอาหารและโครงการระบบอาหารในระดับชุมชนท้องถิ่น

    “แนวทางการจัดทำแผนอาหารและโครงการระบบอาหารในระดับชุมชนท้องถิ่น” ให้แนวทางแก่หน่วยงานและชุมชนระดับท้องถิ่นที่มีความประสงค์จะทำแผนงานหรือโครงการเกี่ยวกับระบบอาหาร ทั้งประเด็นความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย   หน่วยงานที่จัดทำ: สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาได้ ที่นี่ Related posts: WHO Technical Guidance Notes on Sendai Framework Reporting for Ministries of Health International Health Regulations (2005): State Party Self-assessment Annual Report Tool คู่มือเปลี่ยนแปลงโลกอย่างไรให้ยั่งยืน สำหรับเยาวชนนักเปลี่ยนแปลงสังคม (SDG Guidebook for Youth in Action) การสนทนาครั้งใหญ่: คู่มือในการแก้ไขปัญหาความรุนแรง ต่อผู้หญิงในสื่อและโดยสื่อ (The Big Conversation: Handbook to Address Violence against Women in […]

  • ข้อคิดเห็นของเยาวชนและนายจ้างเกี่ยวกับโอกาสในการมีงานทำของเยาวชนไทย (Voices of youth and employers on youth employability in Thailand)

    “ข้อคิดเห็นของเยาวชนและนายจ้างเกี่ยวกับโอกาสในการมีงานทำของเยาวชนไทย: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนให้เยาวชนไทยได้เข้าถึงงานที่มีคุณค่าและเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต” ให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เพื่อปรับปรุงคุณภาพ ความเหมาะสม และขอบเขตการดำเนินการในด้านต่าง ๆ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิตและความสามารถในการทำงานของเยาวชนไทย   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) และสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: Online Employability Resources for Youth 2021 ชุดวิดีโอประกอบคู่มือเปลี่ยนแปลงโลกอย่างไรให้ยั่งยืน สำหรับเยาวชนนักเปลี่ยนแปลงสังคม (SDG Guidebook for Youth in Action) คู่มือเปลี่ยนแปลงโลกอย่างไรให้ยั่งยืน สำหรับเยาวชนนักเปลี่ยนแปลงสังคม (SDG Guidebook for Youth in Action) Global Employment Trends for Youth 2022: Investing in Transforming Futures for Young People

  • วิกฤติสภาพภูมิอากาศ คือวิกฤติสิทธิเด็ก: ดัชนีความเสี่ยงต่อสภาพภูมิอากาศของเด็ก (The Climate Crisis is a Child Rights Crisis: Children’s Climate Risk Index)

    รายงานสรุป “วิกฤติสภาพภูมิอากาศ คือวิกฤติสิทธิเด็ก: ดัชนีความเสี่ยงต่อสภาพภูมิอากาศของเด็ก” นำเสนอข้อเท็จจริงใหม่ในระดับโลกเกี่ยวกับจำนวนเด็กที่กำลังเผชิญกับอันตรายและการเปลี่ยนแปลงที่รุนแรงจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม และนำเสนอดัชนีความเสี่ยงต่อสภาพภูมิอากาศของเด็ก (Children’s Climate Risk Index)   หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ และเอกสารภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Climate Resilient Practices – Typology and Guiding Material for Climate Risk Screening Measuring Children’s Well-being: the Child Flourishing and Futures Index Impact Assessment of Climate Change and Environmental Degradation on Children in Thailand Global Wage Report 2010/11: […]

  • อภิธานศัพท์สำหรับสื่อมวลชนเกี่ยวกับการย้ายถิ่น ว่าด้วยแรงงานหญิงข้ามชาติ และการยุติความรุนแรงต่อผู้หญิง

    “อภิธานศัพท์สำหรับสื่อมวลชนเกี่ยวกับการย้ายถิ่น ว่าด้วยแรงงานหญิงข้ามชาติ และการยุติความรุนแรงต่อผู้หญิง (Media-friendly glossary on migration: Women migrant workers and ending violence against women (EVAW) edition)” มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางสำหรับสื่อมวลชน นักวิจัย ผู้ฝึกอบรม และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น ๆ ซึ่งดำเนิน การฝึกอบรมหรือผู้เขียนเกี่ยวกับการย้ายถิ่นของแรงงานหญิง และความรุนแรงต่อผู้หญิงในบริบทของการย้ายถิ่น     หน่วยงานที่จัดทำ:องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ และเอกสารภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: WHO Guidance for Climate Resilient and Environmentally Sustainable Health Care Facilities International Health Regulations (IHR): Joint External Evaluation (JEE): Country […]

  • แนวทางการพัฒนาภาคการเงินเพื่อความยั่งยืน (Sustainable Finance Initiatives for Thailand)​

    วิดีโอคลิป “แนวทางการพัฒนาภาคการเงินเพื่อความยั่งยืน (Sustainable Finance Initiatives for Thailand)” ให้ข้อมูลความร่วมมือที่สำคัญของภาคการเงินไทยเพื่อกำหนดทิศทางและกรอบการดำเนินงานด้าน sustainable finance ในประเทศ   หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) รับชมวิดีโอ: ได้ ที่นี่ Related posts: Hygiene: UN-Water GLAAS Findings on National Policies, Plans, Targets and Finance รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2561 (2018 Thailand’s Voluntary National Review on The Implementation of the 2030 Agenda for Sustainable Development) Joint External Evaluation of IHR […]

  • Infodemic and SDGs: Internet Freedoms in Southeast Asia

    รายงาน Infodemic and SDGs: Internet Freedoms in Southeast Asia มุ่งนำเสนอปัญหาจากภาวะ ‘Infodemic’ หรือการแพร่ระบาดของข่าวสาร ในระหว่างสถานการณ์ COVID-19 ว่ากระทบต่อความคืบหน้าในการบรรลุเป้าหมาย SDGs ใน 10 ประเทศอาเซียนอย่างไร   หน่วยงานที่จัดทำ: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และศูนย์ศึกษาและประสานงานด้านสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค ดาวน์โหลด: รายงานภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Multi-stakeholder Approaches to Education for Sustainable Development in Local Communities: Towards Achieving the SDGs in Asia Advancing SDG 5 in Asia and the Pacific: An analysis of Beijing+25 National […]

  • Progress on Wastewater Treatment – 2021 Update

    รายงานความคืบหน้าสถานการณ์การบำบัดน้ำเสียของโลกในปี พ.ศ. 2564 รวมถึงสิ่งที่ต้องขับเคลื่อนเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายย่อยที่ 6.3 ภายในปี พ.ศ. 2573 รายงานฉบับนี้ได้อาศัยข้อมูลตามตัวชี้วัดที่ 6.3.1 เรื่องการสัดส่วนของน้ำเสียจากครัวเรือนและอุตสาหกรรมที่ได้รับการบำบัดอย่างปลอดภัย หน่วยงานที่จัดทำ: United Nations Water (UN Water) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Ambient Water Quality – 2021 Update Progress on Integrated Water Resources Management – 2021 Update Progress on Water-related Ecosystems – 2021 Update Progress on Transboundary Water Cooperation – 2021 Update

  • Progress on Ambient Water Quality – 2021 Update

    รายงานสถานการณ์คุณภาพของน้ำโดยรอบ (Ambient Water) ของโลกในปี 2021 รวมถึงสิ่งที่ต้องขับเคลื่อนเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายย่อยที่ 6.3 ภายในปี 2030 รายงานฉบับนี้ได้อาศัยข้อมูลตามตัวชี้วัดที่ 6.3.2 สัดส่วนของแหล่งน้ำ (เช่น มหาสมุทร, ทะเล, ทะเลสาบ, แม่น้ำ, ธารน้ำ, คลอง, หรือสระน้ำ) ที่มีคุณภาพน้ำโดยรอบที่ดี หน่วยงานที่จัดทำ: United Nations Water (UN Water) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Level of Water Stress – 2021 Update Progress on Integrated Water Resources Management – 2021 Update Progress on Water-related Ecosystems – 2021 Update […]

  • Progress on Water-Use Efficiency – 2021 Update

    รายงานสถานการณ์การใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพของโลกในปี 2021 รวมถึงสิ่งที่ต้องขับเคลื่อนเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายย่อยที่ 6.4 เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำในทุกภาคส่วนและสร้างหลักประกันว่าจะมีการใช้น้ำและจัดหาน้ำที่ยั่งยืน เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำ และลดจำนวนประชาชนที่ประสบความทุกข์จากการขาดแคลนน้ำภายในปี 2030 รายงานฉบับนี้ได้อาศัยข้อมูลตามตัวชี้วัดที่ 6.4.1 การเปลี่ยนแปลงของการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพตลอดทุกช่วงเวลา หน่วยงานที่จัดทำ: United Nations Water (UN Water) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Ambient Water Quality – 2021 Update Progress on Level of Water Stress – 2021 Update Progress on Integrated Water Resources Management – 2021 Update Summary Progress Update 2021: SDG 6 – Water […]

  • Progress on Level of Water Stress – 2021 Update

    รายงานสถานการณ์ระดับความตึงเครียดของน้ำของโลกในปี 2021 รวมถึงสิ่งที่ต้องขับเคลื่อนเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายย่อยที่ 6.4 เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำในทุกภาคส่วนและสร้างหลักประกันว่าจะมีการใช้น้ำและจัดหาน้ำที่ยั่งยืน เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำ และลดจำนวนประชาชนที่ประสบความทุกข์จากการขาดแคลนน้ำภายในปี 2030 รายงานฉบับนี้ได้อาศัยข้อมูลตามตัวชี้วัดที่ 6.4.2 ระดับความตึงเครียดด้านน้ำ: สัดส่วนการใช้น้ำจืดต่อปริมาณน้ำจึดทั้งหมด หน่วยงานที่จัดทำ: United Nation Water (UN Water) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Level of Water Stress – Global Baseline for SDG Indicator 6.4.2 Progress on Water-related Ecosystems – 2021 Update Progress on Transboundary Water Cooperation – 2021 Update Summary Progress Update 2021: SDG 6 […]

  • Progress on Integrated Water Resources Management – 2021 Update

    รายงานสถานการณ์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแบบองค์รวม (IWRM) ของโลกในปี 2021 รวมถึงสิ่งที่ต้องขับเคลื่อนเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายย่อยที่ 6.5 ดำเนินการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแบบองค์รวมในทุกระดับ ความร่วมมือระหว่างเขตแดนตามความเหมาะสมภายในปี 2030 รายงานฉบับนี้ได้อาศัยข้อมูลตามตัวชี้วัดที่ 6.5.1 ระดับการดำเนินงานการจัดการทรัพยากรน้ำ หน่วยงานที่จัดทำ: United Nations Water (UN Water) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Integrated Water Resources Management – Global Baseline for SDG Indicator 6.5.1 Progress on Water-Use Efficiency – 2021 Update Progress on Level of Water Stress – 2021 Update Progress on Water-related Ecosystems […]

  • Progress on Water-related Ecosystems – 2021 Update

    รายงานสถานการณ์ระบบนิเวศที่เกี่ยวข้องกับแหล่งน้ำของโลกในปี 2021 รวมถึงสิ่งที่ต้องขับเคลื่อนเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายย่อยที่ 6.6 ปกป้องและฟื้นฟูระบบนิเวศที่เกี่ยวข้องกับแหล่งน้ำ รวมถึงภูเขา ป่าไม้ พื้นที่ชุ่มน้ำ แม่น้ำ ชั้นหินอุ้มน้ำ และทะเลสาบภายในปี 2030 รายงานฉบับนี้ได้อาศัยข้อมูลตามตัวชี้วัดที่ 6.6.1 การเปลี่ยนแปลงในบริบทของระบบนิเวศที่เกี่ยวข้องกับน้ำตลอดทุกช่วงเวลา หน่วยงานที่จัดทำ: United Nations Water (UN Water) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Water-related Ecosystems – Piloting the Monitoring Methodology and Initial Findings for SDG Indicator 6.6.1 Progress on Ambient Water Quality – 2021 Update Progress on Water-Use Efficiency – 2021 Update […]

  • Progress on Transboundary Water Cooperation – 2021 Update

    รายงานสถานการณ์ความร่วมมือบริหารจัดการน้ำข้ามพรมแดนของโลกในปี 2021 รวมถึงสิ่งที่ต้องขับเคลื่อนเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายย่อยที่ 6.5 ดำเนินการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแบบองค์รวมในทุกระดับ รวมถึงผ่านทางความร่วมมือระหว่างเขตแดนตามความเหมาะสมภายในปี 2030 รายงานฉบับนี้ได้อาศัยข้อมูลตามตัวชี้วัดที่ 6.5.2 สัดส่วนของพื้นที่ลุ่มน้ำที่ข้ามเขตแดนมีการจัดการดำเนินงานเพื่อความร่วมมือด้านน้ำ หน่วยงานที่จัดทำ: United Nations Water (UN Water) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: Progress on Transboundary Water Cooperation – Global Baseline for SDG Indicator 6.5.2 Progress on Ambient Water Quality – 2021 Update Progress on Water-related Ecosystems – 2021 Update Summary Progress Update 2021: SDG 6 – Water […]

  • รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้ำในประเทศไทย ปี 2563

    “รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้ำในประเทศไทย ปี 2563” เป็นรายงานประจำปีที่นำเสนอสถานการณ์และการเปลี่ยนแปลงสำคัญด้านความยากจนและความเหลื่อมล้ำของประเทศไทย โดยวิเคราะห์ถึงลักษณะปัญหา โครงการสำคัญของภาครัฐในการแก้ปัญหา ช่องว่างของนโยบาย ตลอดจนให้ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ำ     หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาไทยได้ ที่นี่     Related posts: รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้ำในประเทศไทย ปี 2565 รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้ำในประเทศไทย ปี 2564 รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี พ.ศ.​ 2561-2563 เอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ปี พ.ศ. 2563

  • รายงานผลการดำเนินงานตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2563

    รายงานผลการดำเนินงานตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายที่ 16 ประจำปีพ.ศ. 2563 (Thailand SDGs 16 Progress Report 2020) รวบรวมข้อมูลและผลการดำเนินงานของหน่วยงานต่าง ๆ ของประเทศไทย ที่สอดคล้องตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เป้าหมายที่ 16 ประกอบด้วยผลการดำเนินงานผ่านโครงการหรือกิจกรรมต่าง ๆ ภายใต้ภารกิจของแต่ละหน่วยงานและข้อมูลสถิติตามตัวชี้วัด SDG16 จำนวน 24 ตัวชี้วัด       หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: รายงาน SDGs มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2563-2564 เอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ปี พ.ศ. 2563 รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2563 (2020 Thailand’s Voluntary National […]

  • รายงานดัชนีความก้าวหน้าของคน ปี 2563

    รายงาน “รายงานดัชนีความก้าวหน้าของคน ปี 2563” เป็นรายงานประจำปีที่นำเสนอและเผยแพร่ดัชนีความก้าวหน้าของคน (Human Achievement Index: HAI) พร้อมผลการวิเคราะห์และการประเมินความก้าวหน้าของคนในระดับประเทศ ภาค และจังหวัดของไทย ผ่านกรอบแนวคิดการวิเคราะห์หลายด้าน ครอบคลุมดัชนีย่อยในประเด็น ด้านสุขภาพ ด้านการศึกษา ชีวิตการงาน เศรษฐกิจ ที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อม ชีวิตครอบครัวและชุมชน การคมนาคมและการสื่อสาร และการมีส่วนร่วม   หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ดาวน์โหลด: เอกสารฉบับภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: รายงานดัชนีความก้าวหน้าของคน ปี 2564 รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี พ.ศ.​ 2563-2564 รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2563 (2020 Thailand’s Voluntary National Review on The Implementation of the 2030 Agenda for Sustainable […]

  • World Social Protection Report 2020-22

    Social protection at the crossroads – in pursuit of a better future รายงานการคุ้มครองทางสังคมของโลก 2563 – 2565 รวบรวมข้อมูลระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับโลกล่าสุด รวมถึงแนวโน้มระบบการคุ้มครองทางสังคม การคุ้มครองทางสังคมขั้นพื้นฐาน (social protection floors) และการใช้จ่ายของงบประมาณภาครัฐ  อาทิ นโยบายที่เกี่ยวกับวัยแรงงานผู้หญิงและผู้ชาย การให้กำเนิดบุตร การจ้างงานผู้พิการและผู้ที่เจ็บป่วย การว่างงาน ผู้สูงอายุและเงินบำนาญ รวมถึงหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และที่สำคัญคือผลกระทบของโควิด-19 ที่มีต่อมาตรการคุ้มครองทางสังคม รายงานฉบับนี้เป็นแหล่งข้อมูลเชิงสถิติสำหรับตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 1.3.1 หน่วยงานที่จัดทำ: องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ดาวน์โหลด: รายงานฉบับภาษาอังกฤษได้ ที่นี่ Related posts: World Social Protection Report 2017-19 World Health Statistics 2020: Monitoring Health for […]

  • รายงานความก้าวหน้าเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ของประเทศไทย พ.ศ. 2559-2563 (Thailand’s SDG Report 2016-2020)

    “รายงานความก้าวหน้าเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ของประเทศไทย พ.ศ. 2559-2563” เป็นรายงานประเมินความก้าวหน้าในการดำเนินการเพื่อบรรลุ SDGs ของประเทศไทยในระยะ 5 ปี ฉบับแรก ที่จะแสดงสถานะการพัฒนาของแต่ละเป้าหมายย่อย (targrts) โดยใช้ข้อมูลตัวชี้วัดของสหประชาชาติและยุทธศาสตร์มาเป็นตัวประเมิน    หน่วยงานที่จัดทำ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ดาวน์โหลด: เอกสารภาษาไทยได้ ที่นี่ Related posts: เอกสารการประชุมคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ปี พ.ศ. 2559 รายงานผลการทบทวนการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 ระดับชาติโดยสมัครใจของไทย พ.ศ. 2563 (2020 Thailand’s Voluntary National Review on The Implementation of the 2030 Agenda for Sustainable Development) Global Wage Report 2016/17: Wage inequality in the […]